บทเรียนออนไลน์ ส 30228 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/6
Learning unit 4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
นายมงคล สุขีลักษณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนวัชรวิทยา
สำหรับการจัดการเรียนการสอนภายในโรงเรียน (@wr.ac.th) เท่านั้น
สำหรับครูนายใช้สอน
Specific Contracts 1 Specific Contracts 2
Specific Contracts 2 Real and Personal Security
Labour Law Law of Insurance
Bills and Notes Partnerships and Companies
เอกเทศสัญญา (specific contract) หรือสัญญามีชื่อ (nominate contract) คือ สัญญาประเภทที่กฎหมายกำหนดชื่อและกฎเกณฑ์ไว้ป็นพิเศษ ดังนั้น สัญญาทั่วไปที่ไม่ปรากฏชื่อตามกฎหมายจึงเรียก "สัญญาไม่มีชื่อ" (innominate contract)
แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
เอกสารประกอบการเรียน คลิก
เอกสารศึกษาเพิ่มเติมแบบรวบยอด
ปฎิบัติการนำเสนอ Learning unit 4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 2 หนี้ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา บรรพ 4 ทรัพย์สิน
ทางลัดไปหน่วยการเรียนรู้อื่น ๆ (คลิกเพื่อดูส่วนที่ซ่อน)
ทางลัดไปหน่วยการเรียนรู้อื่น ๆ
ปฎิบัติการร่างสัญญาและสถานการณ์สำหรับวินิจฉัย Learning unit 4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
เอกสารประกอบการเรียน และ PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
โดยคณะนิติศาสตร์ในประเทศไทยจะศึกษาเอกเทศสัญญาตามลำดับดังต่อไปนี้ (สามารถคลิกที่ชื่อลักษณะกฎหมาย เพื่อเปิดไฟล์ PDF สำหรับศึกษาเนื้อหา)
เอกเทศสัญญา 1 (Specific Contracts 1)
ลักษณะ 1 ซื้อขาย (sale)
ขายตามคำพรรณา (sale by description)
ขายตามตัวอย่าง (sale by sample)
ขายทอดตลาด (sale by auction)
ขายเผื่อชอบ (sale on approval)
ขายฝาก (redemption)
ลักษณะ 2 แลกเปลี่ยน (exchange)
ลักษณะ 3 ให้ (gift)
ลักษณะ 4 เช่าทรัพย์ (hire of property)
ลักษณะ 5 เช่าซื้อ (hire-purchase)
เอกเทศสัญญา 2 (Specific Contracts 2)
ลักษณะ 7 จ้างทําของ (hire or work)
ลักษณะ 8 รับขน (carriage)
รับขนของ (carriage of goods)
รับขนคนโดยสาร (carriage of passengers)
ลักษณะ 9 ยืม (loan)
ยืมใช้คงรูป (loan for use)
ยืมใช้สิ้นเปลือง (loan for consumption)
กู้ยืม (borrowing of money)
ลักษณะ 10 ฝากทรัพย์ (deposit)
ลักษณะ 15 ตัวแทน (agency)
ลักษณะ 16 นายหน้า (brokerage)
เอกเทศสัญญา 3 (Specific Contracts 3)
ลักษณะ 14 เก็บของในคลังสินค้า (warehousing)
ลักษณะ 17 ประนีประนอมยอมความ (compromise)
ลักษณะ 18 พนันขันต่อ (wager)
ลักษณะ 19 บัญชีเดินสะพัด (current account)
กฎหมายลักษณะประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ (Real and Personal Security)
ลักษณะ 11 ค้ำประกัน (suretyship)
ลักษณะ 12 จำนอง (mortgage)
ลักษณะ 13 จำนำ (pledge)
กฎหมายแรงงาน (Labour Law)
ลักษณะ 6 จ้างแรงงาน
หลักกฎหมายแรงงาน สัญญาจ้างแรงงาน กฎหมายว่าด้วยแรงงานสัมพันธ์ กฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงาน และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
กฎหมายลักษณะประกันภัย (Law of Insurance)
ลักษณะ 20 ประกันภัย (insurance)
ประกันชีวิต (life insurance)
ประกันวินาศภัย (casualty insurance)
กฎหมายลักษณะตั๋วเงิน (Bills and Notes)
ลักษณะ 21 ตั๋วเงิน (bills)
ตั๋วแลกเงิน (bill of exchange)
ตั๋วสัญญาใช้เงิน (promisory note)
เช็ค (cheque)
กฎหมายลักษณะหุ้นส่วนและบริษัท (Partnerships and Companies)
ลักษณะ 22(1) หุ้นส่วน (partnership)
ลักษณะ 22(2) บริษัท (company)
สื่อการสอน MS PowerPoint Learning unit 4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา หน้าที่ 1 - 70 คลิกเพื่อดาวน์โหลด
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา หน้า 71 - 170 คลิกเพื่อดาวน์โหลด
"สัญญาต้องเป็นสัญญา" เมื่อการทำธุรกรรมต่าง ๆ ในทางธุรกิจครอบคลุมไปได้ทั่วโลกและไม่ติดข้อจำกัดในเรื่องของเวลาและสถานที่ ทำได้ทุกที่ทุกเวลา ผ่านออนไลน์ ทำให้ธุรกรรมต่าง ๆ รวมทั้ง อีคอมเมิร์ซ หรือ การซื้อขาย ได้ขยายตัวและเติบโตอย่างรวดเร็ว
เมื่อเป็นออนไลน์ เมื่อไร ที่ไหนล่ะที่เกิดเป็นสัญญา
หลักการสำคัญประการหนึ่งตามพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ ที่เกี่ยวข้องกับการทำสัญญาเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่กำหนดไว้คือ คำเสนอหรือคำสนองในการทำสัญญาอาจทำเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ห้ามมิให้ปฏิเสธการมีผลทางกฎหมายของสัญญาเพียงเพราะเหตุที่สัญญานั้นได้ทำคำเสนอหรือคำสนองเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ดังนั้นในการทำสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์ จึงได้รับการยอมรับถึงผลทางกฎหมายที่คู่สัญญาต้องมีความผูกพันตามสิทธิหน้าที่ ตลอดจนความรับผิดที่เกิดจากสัญญานั้น ๆ
หนังสือ "สัญญาต้องเป็นสัญญา" จะกล่าวถึงลักษณะของการทำสัญญา เพื่อทำความเข้าใจเบื้องต้นโดยการอธิบายลักษณะของการแสดงเจตนาทำสัญญาทางอิเล็กทรอนิกส์มีลักษณะอย่างไร เพื่อการพิจารณาถึงผลของการแสดงเจตนาทางอิเล็กทรอนิกส์ (การแสดงเจตนาทางออนไลน์) การก่อให้เกิดสัญญาอิเล็กทรอนิกส์จะเกิดขึ้นเมื่อไรและที่ใด การกำหนดรายละเอียดข้อสัญญาในกรณีตัวอย่างของสัญญาซื้อขายสินค้าและบริการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือการซื้อขายทางออนไลน์ในประเด็นของการคุ้มครองผู้บริโภคในเรื่องของข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรม และประเด็นสุดท้ายกล่าวถึงการดำเนินการระงับข้อพิพาท
#สัญญาออนไลน์ #GoDigitalWithETDA คลิก
วีดีโอสื่อการสอน youtube Learning unit 4 : กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 เอกเทศสัญญา
DLTV13 Channel กฎหมายเกี่ยวกับสัญญา : การซื้อขาย ขายฝาก เช่าซื้อ วันที่ 17 ก.ค.63 https://youtu.be/O9N02pS2em4
DLTV13 Channel กฎหมายเกี่ยวกับสัญญา:กู้ยืมเงิน ค้ำประกัน จำนำ จำนอง วันที่ 21 ก.ค.63 https://youtu.be/67wVYHWAOqs
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง
ฟังบรรยายกฎหมาย
#ไม่อยากอ่านฟังทางนี้ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
บรรพ ๑ https://youtu.be/x0mjVzd-ABU
บรรพ ๒ https://youtu.be/ZT0rt2_e7jA
บรรพ ๓ https://youtu.be/wQNWwNZmBoQ
บรรพ ๔ https://youtu.be/cPpEQmaw_PY
บรรพ ๕ https://youtu.be/-Q68UM0VHcg
บรรพ ๖ https://youtu.be/D1V-BKLmJHA
คลิกเพื่อเปิดเว็บไซต์ เอกสารประกอบคำบรรยาย ภาคเรียนที่ 1 สมัยที่ 73