บทเรียนออนไลน์ ภูมิศาสตร์กายภาพ [geography]
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 - 6)
Keywords : ภูมิศาสตร์ ม.ปลาย | ภูมิศาสตร์โอลิมปิค | เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ | การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก | สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับประชากรและการตั้งถิ่นฐาน | สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ | ภับพิบัติทางธรรมชาติ | ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน | ภูมิศาสตร์มนุษย์ | การแข่งขันภูมิศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Geography Olympiad หรือ iGeo)
คำอธิบายรายวิชาภูมิศาสตร์กายภาพ ม.4 - 6
ศึกษา วิเคราะห์ เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์และการนำภูมิสารสนเทศ มาใช้ในชีวิตประจำวัน การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา บรรยากาศภาค อุทกภาค และชีวภาค ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศและทรัพยากรธรรมชาติ ลักษณะทางกายภาพ ส่งผลให้เกิดปัญหาหรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทั้งในท้องถิ่นกำแพงเพชร ประเทศไทย อาเซียนและภูมิภาคต่างๆ ของโลก ความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับวิถีชีวิต สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การตั้งถิ่นฐาน และการกระจายตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชากร การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มาตรการ กฎหมาย และนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และองค์กรที่มีบทบาทในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งในประเทศไทย อาเซียนและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
โดยใช้ทักษะกระบวนการทางภูมิศาสตร์ การคิดเชิงพื้นที่ การแปลความหมายข้อมูลทางภูมิศาสตร์ การสังเกต การใช้เหตุผลทางภูมิศาสตร์ และการตัดสินอย่างเป็นระบบ มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาและการดำเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติ อันจะนำไปสู่การ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา วิกฤติการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติ สามารถปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไป ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างพอเพียงตามแนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน มีความสามารถในการคิด ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน
ผลการเรียนรู้ รวม 7 ตัวชี้วัด
ส 5.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3
ส 5.2 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/4
Learning unit 0 : ภูมิศาสตร์โอลิมปิค
PPT For NINE 📣
เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 0 นักเรียนจะสามารถ
เพื่อเผยแพร่ความรู้ทางภูมิศาสตร์แก่นักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เพื่อคัดเลือกตัวแทนนักเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเข้าร่วมการอบรมค่าย 1 และการอบรมค่าย 2 และเข้ารับการสอบคัดเลืือกเป็นตัวแทนไปแข่งขันภูมิศาสตร์โอลิมปิกระดับชาติ ในปี พ.ศ. 2567
เพื่อประชาสัมพันธ์การเรียนการสอนภูมิศาสตร์และสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียนสาขาวิชาภูมิศาสตร์
เพื่อสร้างโอกาสในการดึงดูดนักเรียนที่มีความสามารถมาเรียนในสาขาวิชาภูมิศาสตร์
เนื้อหาการสอบ
เป็นแบบปรนัย (4 ตัวเลือก) ตามหัวข้อในหนังสือภูมิศาสตร์กายภาพ ภูมิศาสตร์มนุษย์ และภูมิศาสตร์เทคนิคของมูลนิธิ สอวน.
คำถามเป็นภาษาไทย มีข้อสอบทั้งสิ้น 150 ข้อ เวลาสอบ 3 ชั่วโมง (9.00-12.00 น.)
PowerPoint Learning unit 0 : ภูมิศาสตร์โอลิมปิค
TESO_2024_HorwangSchool คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
TESO_2024_HorwangSchool_Astronomy คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
TESO_2024_HorwangSchool_Landforms คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
TESO_2024_HorwangSchool_updated คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
สาระการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 0
ภูมิศาสตร์กายภาพ (PHYSICAL GEOGRAPHY) ประกอบด้วย 5 บท ได้แก่ โลกและภูมิลักษณ์ ทรัพยากรธรรมชาติและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ตลอดจนภัยธรรมชาติและการจัดการภัยพิบัติ
ภูมิศาสตร์มนุษย์ (HUMAN GEOGRAPHY) ซึ่งศึกษาปรากฏการณ์เกี่ยวกับมนุษย์หรือกิจกรรมของมนุษย์
ภูมิศาสตร์เทคนิค (GEOGRAPHIC TECHNIQUES) เป็นเครื่องมือของนักภูมิศาสตร์ ประกอบด้วย 7 บท ได้แก่ แผนที่ ภาพถ่ายทางอากาศ การรับรู้ระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ระบบกำหนดตำแหน่งบนโลก งานภาคสนาม และเทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล ในแต่ละบทนอกจากจะมีการบรรยายในหัวข้อต่างๆ แล้ว ยังมีภาพและตารางประกอบ ตลอดจนเกร็ดความรู้ที่ให้รายละเอียดเพิ่มเติม และชวนคิด ชวนทำเพื่อทดสอบการเรียนรู้ของผู้อ่านตำราภูมิศาสตร์
วิเคราะห์ข้อสอบวิชาภูมิศาสตร์โอลิมปิค
สาระการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 0
ตัวอย่างข้อสอบวิชาภูมิศาสตร์โอลิมปิค
ข้อสอบภูมิศาสตร์โอลิมปิกวิชาการระดับชาติ
ข้อสอบคัดเลือกผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันภูมิศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ IGEO -- การแข่งขันภูมิศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ (International Geography Olympiad หรือ iGeo)
คลังข้อสอบ มูลนิธิ สอวน. https://www.posn.or.th/examination
ภาควิชาภูมิศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ The 1st Geography Department in Thailand https://geo.soc.cmu.ac.th/
Learning unit 1 : เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซึ่งส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ
PPT For NINE 📣
PowerPoint Learning unit 1 : การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 นักเรียนจะสามารถ
ส 5.1 ม.4-6/3 ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์และนำภูมิสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
สาระการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
.แผนที่และองค์ประกอบ
การอ่านแผนที่เฉพาะเรื่อง
การแปลความหมายรูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม
การนำภูมิสารสนเทศไปใช้ในชีวิตประจำวัน
สื่อการสอนเพิ่มเติม
ทบทวนความรู้เดิมก่อนสอน คลิกเพื่อเปิดเว็บไซต์
การปักหมุดตำแหน่งบ้านนักเรียน ด้วย Google map คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
PowerPoint x สื่อประกอบการเรียนรู้ Learning unit 1 : เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 1 : (คลิกเพื่อดาวน์โหลดไฟล์ PDF)
Learning unit 2 : การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก
ปัจจัยทางภูมิศาสตร์มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซึ่งส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ
PPT For NINE 📣
PowerPoint Learning unit 2 : การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
Geo8 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลก คลิก
Geo9 การผันแปรของเปลือกโลก คลิก
Geo10 การเกิดภูมิประเทศอย่างใหญ่ คลิก
Geo11 การเกิดภูมิประเทศอย่างย่อย คลิก
Geo12 ชั้นบรรยากาศของโลก คลิก
Geo13 ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ คลิก
Geo14 ลม คลิก
Geo15 พายุ คลิก
Geo16 หยาดน้ำฟ้า คลิก
Geo17 ปัจจัยที่มีผลต่อสภาพอากาศ คลิก
Geo18 การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิปเปน คลิก
Geo19 น้ำบนโลก คลิก
Geo20 พาเที่ยวทะเลทั่วโลก คลิก
Geo21 การเคลื่อนที่ของน้ำทะเล คลิก
Geo22 ภูมิประเทศทางทะเลและมหาสมุทร คลิก
เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 นักเรียนจะสามารถ
ส 5.1 ม.4-6/1 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์
ส 5.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพซึ่งทำให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคต่างๆ ของโลก
สาระการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 2
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ (ประกอบด้วย ธรณีภาค บรรยากาศภาค อุทกภาค และชีวภาค) ของพื้นที่ในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลกซึ่งได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางภูมิศาสตร์
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่ส่งผลต่อภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และทรัพยากรธรรมชาติ
ปัญหาทางกายภาพและภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศและภูมิภาคต่างๆของโลก
PowerPoint x สื่อประกอบการเรียนรู้ Learning unit 2 : การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก
PowerPoint Learning unit 2 : การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลก คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
Learning unit 3 : สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
การดำเนินชีวิตของท้องถิ่นทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ นอกจากนี้ กระแสโลกาภิวัตน์ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและวิถีการดำเนินชีวิต
PPT For NINE 📣
PowerPoint Learning unit 3 : สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับประชากรและการตั้งถิ่นฐาน คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 นักเรียนจะสามารถ
ส 5.1 ม.4-6/1 วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ ในการสร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิตของท้องถิ่น ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก และเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
สาระการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับวิถีการดำเนินชีวิต ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ได้แก่
ประชากรและการตั้งถิ่นฐาน (การกระจายและการเปลี่ยนแปลงประชากร ชุมชนเมืองและชนบท และการกลายเป็นเมือง)
PowerPoint x สื่อประกอบการเรียนรู้ Learning unit 3 : สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับประชากรและการตั้งถิ่นฐาน
PowerPoint Learning unit 3 : สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับประชากรและการตั้งถิ่นฐาน คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
Learning unit 4 : สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
วิถีการดำเนินชีวิตของท้องถิ่นทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก เกิดจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ นอกจากนี้ กระแสโลกาภิวัตน์ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพและวิถีการดำเนินชีวิต
PPT For NINE 📣
PowerPoint Learning unit 4 : สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 นักเรียนจะสามารถ
ส 5.1 ม.4-6/1 วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมของมนุษย์ ในการสร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิตของท้องถิ่น ทั้งในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก และเห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์
สาระการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 4
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับวิถีการดำเนินชีวิต ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ได้แก่
การกระจายของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ (เกษตรกรรม อุตสาหกรรมการผลิต การบริการและการท่องเที่ยว)
PowerPoint x สื่อประกอบการเรียนรู้ Learning unit 4 : สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
Learning unit 5 : ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ลักษณะทางกายภาพที่แตกต่างกันส่งผลให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติที่แตกต่างกัน ทั้งในด้านประเภท ความถี่ และความรุนแรง
กิจกรรมของมนุษย์เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก ซึ่งอาจส่งผลกระทบทั้งในระดับประเทศ ภูมิภาค และโลก
PPT For NINE 📣
PowerPoint Learning unit 5 : ภัยพิบัติทางธรรมชาติ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 นักเรียนจะสามารถ
ส 5.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ ซึ่งทำให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
ส 5.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
สาระการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 5
.ปัญหาทางกายภาพและภัยพิบัติทางธรรมชาติในประเทศและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และภัยพิบัติ
การจัดการภัยพิบัติ
Learning unit 6 : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
PPT For NINE 📣
PowerPoint Learning unit 6 : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกับการพัฒนาที่ยั่งยืน คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
เมื่อเรียนจบหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 นักเรียนจะสามารถ
ส 5.2 ม.4-6/2 วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
ส 5.2 ม.4-6/3 ระบุมาตรการป้องกัน และแก้ไขปัญหากฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บทบาทขององค์การที่เกี่ยวข้อง
ส 5.2 ม.4-6/4 วิเคราะห์แนวทางและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สาระการเรียนรู้ ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 6
สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อม ความหลากหลายทางชีวภาพ และภัยพิบัติ
สาเหตุและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยและภูมิภาคต่าง ๆ ของโลก
การจัดการภัยพิบัติ
มาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประเทศและระหว่างประเทศ ตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน ความมั่นคงของมนุษย์ และการบริโภคอย่างรับผิดชอบ
กฎหมายและนโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ
บทบาทขององค์การ และการประสานความร่วมมือทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ
แนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา และการดำเนินชีวิตตามแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สรุปเนื้อหาสาระวิชาภูมิศาสตร์
สื่อการเรียนรู้เพิ่มเติม
หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ม.4-6 ฉบับอนุญาต (อญ.) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) สร้างความเข้าใจลักษณะทางกายภาพที่มีผลต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ รู้เท่าทันและเตรียมพร้อมกับความเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม https://www.aksorn.com/store/2/product-details-3791