บทเรียนออนไลน์ ส 21105 - 22106 ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รอจัดทำ
[อาณาจักรอยุธยา - ธนบุรี - อารยธรรมเอเชีย - พัฒนาการประวัติศาสตร์ทวีปเอเชีย]
Keywords : หลักฐานทางประวัติศาสตร์ | อาณาจักรอยุธยา | อาณาจักรธนบุรี | บุคคลสำคัญสมัยอยุธยา | บุคคลสำคัญ | สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 | สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ | สมเด็จพระสุริโยทัย | สมเด็จพระนเรศวรมหาราช | สมเด็จพระนารายณ์มหาราย์ | สมเด็จพระเพทราชา | ออกญาโกษาธิบดี | สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช | สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก | เจ้าพระยาสุรสีห์ | พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของทวีปเอเชีย | แหล่งอารยธรรมทวีปเอเชีย
คำอธิบายรายวิชา (Course Description)
รายวิชาประวัติศาสตร์ 3 รหัสวิชา ส 22105 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 0.5 หน่วยกิต
ศึกษาวิเคราะห์การประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ ตลอดจนวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ การพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย ความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรธนบุรีในด้านต่างๆ
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกระบวนการแก้ปัญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษยชาติในภูมิภาคต่างๆ ในทวีปเอเชียจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ให้ตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบที่เกิดขึ้น มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย
ตัวชี้วัด ส 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ส 4.2 ม.2/1 ม.2/2 ส 4.3 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 รวม 8 ตัวชี้วัด
รายวิชาประวัติศาสตร์ 4 รหัสวิชา ส 22106 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลาเรียน 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 0.5 หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา อิทธิพลของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรีที่มีต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และกระบวนการแก้ปัญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษยชาติในภูมิภาคต่างๆ ในทวีปเอเชียจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ให้ตระหนักถึงความสำคัญและผลกระทบที่เกิดขึ้น มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่เรียนรู้ มุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย
ตัวชี้วัด ส 4.3 ม.2/3 ส 4.2 ม.2/1 ม.2/2 รวม 5 ตัวชี้วัด
Learning unit 0 : แนะนำรายวิชา ส 21105 - 106
เป้าหมายของการเรียนรายวิชา ส 21105 - 106 ประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผู้เรียนสามารถประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ นำเสนอให้เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ และอธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และพัฒนาการของอาณาจักรโบราณ อาณาจักรสุโขทัยในด้านต่าง ๆ วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร กล่าวถึงภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย และอิทธิพลของภูมิปัญญาต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมาได้
Learning unit 1 : ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
เอกสารประกอบการเรียน
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 1 : ความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงาน
ใบงานที่ 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 2 การประเมินค่าหลักฐาน คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 3 การวิเคราะห์หลักฐาน คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 4 สืบค้นความเป็นมาของชุมชน คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้
ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆได้
วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ได้
เห็นความสำคัญของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ
Learning unit 2 : พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา
แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
เอกสารประกอบการเรียน
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 2 : พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงาน
ใบงานที่ 5 การสถาปนาอาณาจักรอยุธยา คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 6 ความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 7 พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของอาณาจักรอยุธยา คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 8 พัฒนาการด้านเศรษฐกิจของอาณาจักรอยุธยา คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 9 พัฒนาการด้านสังคมของอาณาจักรอยุธยา คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 10 พัฒนาการด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 11 ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในสมัยอยุธยา คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 12 จับคู่อาณาจักรอยุธยา คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้
วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรีในด้านต่างๆ ได้
วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยาได้
ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา และอิทธิพลของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมาได้
Learning unit 3 : พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
เอกสารประกอบการเรียน
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 3 : พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงาน
ใบงานที่ 13 เหตุการณ์สำคัญช่วงอาณาจักรธนบุรี คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 14 การเมืองการปกครองสมัยธนบุรี คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 15 สภาพเศรษฐกิจและสังคมสมัยธนบุรี คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 16 ความสัมพันธ์กับต่างประเทศสมัยธนบุรี คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 17 ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมในสมัยธนบุรี คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้
วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีในด้านต่างๆได้
ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี และอิทธิพลของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมาได้
Learning unit 4 : ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญในการสร้างสรรค์ชาติไทย
แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
เอกสารประกอบการเรียน
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 4 : ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญในการสร้างสรรค์ชาติไทย คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงาน
ใบงานที่ 18 บุคคลสำคัญในสมัยอยุธยา คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 19 ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมสมัยอยุธยาและธนบุรี คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 20 บุคคลสำคัญในสมัยธนบุรี คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 21 บุคคลสำคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้
ระบุภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมิปัญญาดังกล่าวต่อการพัฒนาชาติไทยในยุคต่อมาได้
Learning unit 5 : ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อพัฒนาการของทวีปเอเชีย
แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
เอกสารประกอบการเรียน
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 5 : ที่ตั้งและสภาพภูมิศาสตร์ ที่มีผลต่อพัฒนาการของทวีปเอเชีย คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงาน
ใบงานที่ 22 ประเทศและภูมิภาคในทวีปเอเชีย คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 23 พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออก คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 24 พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียใต้ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 25 พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 26 พัฒนาการของภูมิภาคเอเชียตะวันออก คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 27 ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชีย คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้
อธิบายพัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชียได้
Learning unit 6 : แหล่งอารยธรรมในทวีปเอเชีย
แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
เอกสารประกอบการเรียน
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 6 : แหล่งอารยธรรมในทวีปเอเชีย คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงาน
ใบงานที่ 28 อารยธรรมต่าง ๆ ในทวีปเอเชีย คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 29 อารยธรรมเอเชียตะวันออก [จีน] คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 30 อารยธรรมเอเชียใต้ [อินเดีย] คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 31 อารยธรรมเอเชียยตะวันตกเฉียงใต้ [เมโสโปเตเมีย] คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ใบงานที่ 32 มรดกทาอารยธรรมโบราณในทวีปเอเชีย คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียน ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้
ระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชียได้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ ม.2
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ 65 พรรษา ภาคเรียนที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ประวัติศาสตร์) ม.2 (สำหรับครู) คลิก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ 65 พรรษา ภาคเรียนที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ประวัติศาสตร์) ม.2 (สำหรับนักเรียน) คลิก
ชุดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ 65 พรรษา ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ประวัติศาสตร์) ม.2 (สำหรับนักเรียน) คลิก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ 65 พรรษา ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ประวัติศาสตร์) ม.2 (สำหรับครู 1) คลิก
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ 65 พรรษา ภาคเรียนที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ประวัติศาสตร์) ม.2 (สำหรับครู 2) คลิก