บทเรียนออนไลน์ ส 30224 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายและนิติศึกษา
TOPIC 4 : การศึกษานิติศาสตร์ผ่านนิติปรัชญา (Legal Philosophy)
นายมงคล สุขีลักษณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนวัชรวิทยา
สำหรับการจัดการเรียนการสอนภายในโรงเรียน (@wr.ac.th) เท่านั้น
นิติปรัชญา (อังกฤษ: philosophy of law) คือ ทฤษฎีและปรัชญาแห่งกฎหมาย เหล่านิติปรัชญาเมธีมีความมุ่งหมายจะเข้าใจให้ลึกซึ้งซึ่งสภาพแห่งกฎหมาย การให้เหตุผลทางกฎหมาย ระบบกฎหมาย และสถาบันทางกฎหมาย นิติปรัชญาสมัยใหม่เริ่มก่อตัวในคริสต์ศตวรรษที่ 18 โดยมุ่งเป้าไปที่หลักการพื้นฐานแห่งกฎหมายธรรมชาติ กฎหมายแพ่ง และกฎหมายแห่งประชาชาติ
PPT NINE CLICK
แบบทดสอบวัดความรู้ก่อนเรียน ประจำ TOPIC 4 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
เอกสารประกอบการเรียน TOPIC 4 :การศึกษานิติศาสตร์ผ่าน นิติปรัชญา (Legal Philosophy) คลิก
E-BOOK สรุป (ใช้สำหรับการเรียนการสอนภายในชั้นเรียน - การทบทวนเพื่อเตรียมตัวสอบเท่านั้น ห้ามแสวงหากำไร) คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ TOPIC 4 :การศึกษานิติศาสตร์ผ่าน นิติปรัชญา (Legal Philosophy) ประกอบด้วยเนื้อหาดังต่อไปนี้
บทนำเรื่อง : ความหมาย ขอบเขต และเป้าหมายของนิติปรัชญา
ทฤษฎีปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย (Lagal Positivism :การก่อตัวและบทบาทความสำคัญ)
ฮันส์ เคลเซน (Han Kelsens และทฤษฎีกฎหมายบริสุทธิ์)
ปฏิฐานนิยมทางกฎหายตามแนวคิดของฮาร์ด (H.L..A. hart)
ปฏิฐานนิยมทางกฎหมาย การปฏิวัติเรื่องปฏิหาร และปัญหาสืบเนื่องทางปรัชญากฎหมาย
ปรัชญากฎหมายธรรมชาติ ความใฝ่ฝันหรือความเชื่อทางกฎหมาย อุดมคติ
การบังคับควบคุมศีลธรรมโดยกฎหมาย Lagel Iforcement Of morality
สำนักกฎหมายประวัติศาสตร์ (Histrorical School Of Law)
ลัทธิอรรถประโยชน์ (Utlitalainism)
ทฤษฎีนิติศาสตร์เชิงสังคมวิทยา (Sosiological Julisprodence)
ทฤษฎีกฎหมายทางมาร์กซิส (The marxist Theory Of law)
สัจจนิยมทางกฎหมาย legal Realism (The marxist Theory Of law)
การเคารพนับถือฎหมาย (Obedience To Law)แ และการดื้อแพ่งของกฎหมายประชาชน (Civil Disobedience)
บริบททางสังคมและประวัติศาสตร์ของอุดมการณื
ความยุติธรรม (Justice)
สำหรับสอน - ศึกษาเพิ่มเติม
บรรพ 2 ลักษณะ 1 บททั่วไป หน้า 54 - 73 คลิกเพื่อดาวน์โหลด
แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรียน ประจำ TOPIC 4 คลิกเพื่อทำแบบทดสอบ
ทางลัดไปหน่วยการเรียนรู้อื่น ๆ (คลิกเพื่อดูส่วนที่ซ่อน)
TOPIC 2 : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักกฎหมายเอกชน (Principle of Private Law)
TOPIC 3 : ประวัติศาสตร์กฎหมายไทยและระบบกฎหมายหลัก (Thai Legal History and Major Legal System)
TOPIC 4 : การศึกษานิติศาสตร์ผ่านนิติปรัชญา (Legal Philosophy)
TOPIC 7 : กฎหมายพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน (Basic laws related to daily life)
แบบฝึกหัดการวินิจฉัย TOPIC 4 : .... (2568)
คำชี้แจง (ครั้งที่ 1)
นักเรียนจะทำ 1 ข้อ หรือมากกว่า 1 ข้อก็ย่อมได้ ถือเป็นการฝึกฝนตนเอง
จะคิดคะแนนแค่เพียง 1 ข้อที่ทำดีที่สุด หากทำมามากกว่า 1 ข้อ จะนับเป็นคะแนนบวกและคะแนนจิตพิสัย
การเขียนควรเขียนวิเคราะห์ให้ครบทุกประเด็นและทุกองค์ประกอบ จะทำให้ได้คะแนนมากขึ้นตามสัดส่วน
ขอความกรุณาไม่คัดลอกโจทย์ หรือ Print Screen ภาพโจทย์ส่งแชทให้เพื่อน เนื่องจากต้องการให้ทุกคนใส่ใจในการทำงานนะครับ
ข้อสอบข้อ 1 (คลิกเพื่อเปิดดูโจทย์)
..
ข้อสอบข้อ 2 (คลิกเพื่อเปิดดูโจทย์)
..
ข้อสอบข้อ 3 (คลิกเพื่อเปิดดูโจทย์)
..