เตรียมตัวสอบเศรษฐศาสตร์กลางภาค ส 32103 ปีการศึกษา 2567
ข้อสอบวัดผลกลางภาคเรียน ภาคเรียนที่ 2/2567 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 - 5/7 รายวิชาเศรษฐศาสตร์ (ส 32103)
เวลา 60 นาที คะแนนเต็ม 20 คะแนน
โรงเรียนวัชรวิทยา อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร
ลักษณะข้อสอบ
คำชี้แจง ข้อสอบฉบับนี้ มี 2 ตอน
ตอนที่ 1 ข้อสอบปรนัย จำนวน 30 ข้อ (10 คะแนน) ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว และฝนคำตอบเป็นวงกลมทึบ □ ลงในกระดาษคำตอบที่จัดไว้ให้
ตอนที่ 2 ข้อสอบอัตนัย จำนวน 2 ข้อ (10 คะแนน) ให้นักเรียนเขียนลงในกระดาษคำตอบที่จัดไว้ให้
หากมีข้อสงสัยใด ๆ ให้สอบถามจากคณะกรรมการคุมสอบเท่านั้น
ขอบเขตของข้อสอบ
ขอบเขตของข้อสอบตอนที่ 1 ข้อสอบปรนัย
กดเพื่อดูเนื้อหาส่วนที่ซ่อนไว้
ตอนที่ 1 ข้อสอบปรนัย จำนวน 30 ข้อ (10 คะแนน) ออกในเนื้อหา ดังนี้
ขอบข่ายของวิชาเศรษฐศาสตร์ จำนวน 4 ข้อ
ขอบข่ายของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
ปัญหาพื้นฐานของวิชาเศรษฐศาสตร์
การผลิต
ประเภทของการผลิต (สินค้า (อุปโภคและบริโภค) , การบริการ)
ลำดับการผลิต 3 ขั้นตอน (ปฐมภูมิ - ทุติยภูมิ - ตติยภูมิ)
สินค้าขั้นสุดท้าย
ปัจจัย “การผลิต” : หรือทรัพยากรในการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์
ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน จำนวน 4 ข้อ
ประเภทของ “หน่วยเศรษฐกิจ”
ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน (3 ระบบ) จุดเด่น จุดด้อย การเปรียบเทียบแต่ละระบบเศรษฐกิจ ประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ จำนวน 4 ข้อ
ความหมายของ “ตลาด” (Market)
ประเภทและความแตกต่างของตลาด 2 ประเภทใหญ่ (1.สมบูรณ์ 2.ไม่สมบูรณ์ ได้แก่ กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ผู้ขายน้อยราย ผูกขาด)
ข้อดี ข้อเสีย ความแตกต่างของตลาดแต่ละประเภทเมื่อเปรียบเทียบกัน
การกำหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน - การกำหนดราคาในเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อสังคมไทย จำนวน 7 ข้อ
ความหมายของอุปสงค์ + การพิจารณาว่าอะไรเป็นอุปสงค์หรือไม่
ความหมายของอุปทาน
กฏของอุปสงค์ - กฏของอุปทาน ความหมายและตัวอย่าง
ความหมายของจุดดุลยภาพ
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้ระดับอุปสงค์และอุปทานมีการเปลี่ยนแปลงไป (ปัจจัยราคา - วิ่งในเส้นเดิม) (ปัจจัยอื่น - Shift กราฟขวาซ้าย)
อุปสงค์ส่วนเกิน - อุปทานส่วนเกิน
สินค้าปกติ สินค้าด้อยคุณภาพ สินค้าใช้แทนกัน สินค้าใช้ประกอบกัน
ตัวอย่างอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การเปลี่ยนแปลงกราฟกลไกราคาด้วยปัจจัยราคาและปัจจัยอื่น ๆ
บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคาเพื่อแจกจ่ายและจัดสรรในทางเศรษฐกิจ จำนวน 3 ข้อ
รูปแบบการแทรกแซงตลาดของรัฐบาล 4 รูปแบบ
การอธิบายปรากฏการณ์ที่สมเหตุสมผลตามหลักการทางเศรษฐศาสตร์ + เชื่อมโยงเนื้อหาเรื่องกลไกราคาและการเปลี่ยนแปลงมาด้วย
การกำหนดค่าจ้าง จำนวน 3 ข้อ
อุปสงค์แรงงานส่วนเกิน และ อุปทานแรงงานส่วนเกิน + ผลที่เกิดจากรัฐแทรกแซง
หลักเศรษฐกิจพอเพียงฯ จำนวน 3 ข้อ ได้แก่
เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง + เกษตรทฤษฎีใหม่ 3 ลำดับ 2 ข้อ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ 1 - 13 1 ข้อ
หลักสหกรณ์ฯ จำนวน 3 ข้อ
ทั้งนี้สามารถศึกษาวีดีโอการสอนย้อนหลังเพื่อทบทวนที่
ระบบเศรษฐกิจ ตลาด https://youtu.be/bHnDh0TCwWo
กลไกราคาและการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์อุปทานฯ https://youtu.be/XKGtXlygTSw
ศก.พอเพียง สหกรณ์ https://youtu.be/u-YIHF1p2kQ
ขอบเขตของข้อสอบตอนที่ 2 ข้อสอบอัตนัย
กดเพื่อดูเนื้อหาส่วนที่ซ่อนไว้
ตอนที่ 2 ข้อสอบอัตนัย จำนวน 2 ข้อ (10 คะแนน) ให้นักเรียนเขียนลงในกระดาษคำตอบที่จัดไว้ให้ ออกในเนื้อหาดังนี้
ให้นักเรียนนำค่าในตารางด้านล่าง ไปเขียนกราฟการกำหนดราคาและปริมาณดุลยภาพ โดยใส่รายละเอียดให้ครบถ้วนสมบูรณ์ และจงตอบด้วยว่า จุดดุลยภาพของตลาด (ค่า E) มีค่าเท่าใด (4 คะแนน)
สำหรับข้อสอบข้อนี้ ให้นักเรียนนำค่าจากตารางมาวาดกราฟกลไกราคา จากนั้นให้นักเรียนหาค่าจุด E (จุดดุลยภาพ) แล้วเขียนคำตอบ ดังนี้
ราคาดุลยภาพ เท่ากับ
ปริมาณดุลยภาพ เท่ากับ
ณ ระดับราคา ..... บาท เกิดภาวะ (อุปสงค์ส่วนเกิน/อุปทานส่วนขาด) หรือ (อุปสงค์ส่วนขาด/อุปทานส่วนเกิน) เพราะอะไร ? (ให้เขียนทุกระดับราคา)
ให้ใช้สถานการณ์ที่กำหนดให้ แล้วดำเนินการ ดังนี้ (6 คะแนน)
ระบุว่าจากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงดังกล่าว เป็นการเปลี่ยนแปลงด้วยปัจจัยราคา หรือปัจจัยอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ราคา
ระบุว่าสถานการณ์ดังกล่าว เป็นการเปลี่ยนแปลงด้านอุปสงค์ หรือด้านอุปทาน
ระบุว่าเมื่อเกิดสถานการณ์ดังกล่าวแล้ว มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างไร ให้เขียนอธิบายพอสังเขปให้เข้าใจง่าย
วาดกราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์อุปทาน (ตามที่นักเรียนได้วิเคราะห์ไว้ให้ครบถ้วน) พร้อมทั้งเขียนอธิบายพอสังเขปให้เข้าใจง่าย รวมทั้งให้ตอบว่า จากการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์หรืออุปทานดังกล่าว ส่งผลให้ราคาดุลยภาพ และปริมาณดุลยภาพมีการเปลี่ยนแปลงไปเช่นไร
ข้อสอบมี 6 สถานการณ์ ให้วาดกราฟที่พยากรณ์เกี่ยวกับปรากฏการณ์ที่จะเกิดขึ้น สถานการณ์ละ 1 กราฟ พร้อมทั้งเขียนอธิบายพอสังเขปให้เข้าใจง่ายของทุกสถานการณ์
สำหรับข้อสอบอัตนัย สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากคลิปด้านล่าง จำนวน 2 คลิป
คลิปที่ 1 https://youtu.be/5Ux6E0aZq1M
คลิปที่ 2 https://youtu.be/gGjVbETD7gg
กลไกราคาและการเปลี่ยนแปลง ฉบับเตรียมสอบกลางภาค คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
กลไกราคา ข้อเขียน สำหรับทบทวน https://youtu.be/HkVqsgLZrVc
ชี้ช่องไฟล์สรุปวิชาเศรษฐศาสตร์แบบจัดเต็ม คลิกไป (1) หน่วย 1 หน่วย 2 หน่วย 3
สำหรับครูนายคนเดียว คลิก
ตัวอย่างการตอบข้อสอบอัตนัย ข้อ 1
นักเรียนสามารถฝึกปฎิบัติกราฟกลไกราคา ได้จากหน้า ปฎิบัติการ 1 : กราฟกลไกราคา
ตัวอย่างการตอบข้อสอบอัตนัย ข้อ 1 โดย คุณ Puksuree Wasinamorn
*** ข้อสังเกตที่เป็นจุดตัดคะแนน มีดังนี้
กราฟต้องปรากฎข้อมูลครบถ้วนตามที่สอน การใส่ชื่อเส้น P, Q การใส่ E รวมทั้งสเกลต้องตรง หากสเกลไม่ตรง หักตามสมควร หากใส่องค์ประกอบไม่ครบ หักจุดละ 0.1
นักเรียนสามารถลากเส้นสมมติที่จุด E ที่สัมพันธ์กับแกน P และ Q ด้วยได้ (คะแนนพิเศษ)
ส่วนคำตอบ หากไม่ได้ใส่หน่วย หักจุดละ 0.1 คะแนน
หากไม่เขียนข้อ 3 ย่อยให้ครบทุกภาวะ / ระดับราคา หักจุดละ 0.1 คะแนน
หมายเหตุ ภาพตัวอย่างเป็นเพียงแนวทางการตอบเบื้องต้นเท่านั้น
ตัวอย่างการตอบข้อสอบอัตนัย ข้อ 2
อ่านเพิ่มเติมได้ที่
กลไกราคาและการเปลี่ยนแปลง ฉบับเตรียมสอบกลางภาค คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตัวอย่างกระดาษคำตอบ การสอบกลางภาคเรียน
คำชี้แจง
กรณีข้อสอบปรนัย
1. ให้นักเรียนเขียนชื่อ นามสกุล ชั้น เลขที่ให้เรียบร้อย
2. ผู้เข้าสอบใช้ดินสอ 2B หรือเข้มกว่า ฝนคำตอบในวงกลมให้เต็ม ตามตัวอย่าง
3. หากต้องการแก้ไขคำตอบ ให้ลบคำตอบเดิมให้สะอาด จึงระบายใหม่
4. ห้ามขีดเขียนสิ่งอื่นใดลงไปในกระดาษคำตอบ นอกเหนือจากที่ระบุ
มิเช่นนั้นโปรแกรมจะไม่ตรวจข้อสอบ
5. ห้ามทำลาย หรือพับกระดาษคำตอบ
6. กรณีมีชุดที่ของข้อสอบ ให้ฝนชุดที่ข้อสอบในช่อง KEY สำหรับช่อง รหัสประจำตัวนักเรียน ให้กรอกและฝนเลขประจำตัวของนักเรียน เช่น เลขที่ 15780 ให้ฝน 000015780 เป็นต้น
ตอนที่ 2 ข้อสอบอัตนัย
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนหมายเลขข้อให้ชัดเจน และตอบคำถามโดยไม่ต้องลอกโจทย์ หากกระดาษคำตอบที่แจกให้ไม่พอ ให้ขอเพิ่มจากคณะกรรมการคุมสอบ โดยให้เขียนชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ กำกับทุกหน้าของกระดาษคำตอบ เพื่อป้องกันการสับเปลี่ยนกระดาษ
PS
น สิยา โลกวฑฺฒโน
What doesn’t kill you makes you stronger.
See you again when the nation needs it
Good luck in exams
Fighting
Khrū nāy
ชีทสรุป midterm ส 32103 เศรษฐศาสตร์ By ครู จจ. & ครู นน.
ชีทสรุป midterm ส 32103 เศรษฐศาสตร์ By ครู จจ. & ครู นน.
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 1 : ระบบเศรษฐกิจกับการกำหนดราคาและค่าจ้าง ดาวน์โหลดไฟล์ ONE DRIVE ดาวน์โหลดไฟล์สำรอง [Google drive]
ข้อสอบประกอบสไลด์ [แบบง่าย]
กลไกราคาและการเปลี่ยนแปลง ฉบับเตรียมสอบ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 2 & 3 : หลักเศรษฐกิจพอเพียงฯ & หลักสหกรณ์ คลิกเพื่อเปิดเอกสารฉบับรวม
เอกสารสรุปพร้อมข้อสอบ #เฉพาะเมล์โรงเรียนเท่านั้น คลิก
Pre-midterm ส 32103 เศรษฐศาสตร์
เปิดให้ทำวันศุกร์ที่ 20 ถึง วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 น. รหัสข้อสอบ 32103
คำชี้แจง
ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
แบบทดสอบฉบับนี้ สามารถทำได้ไม่จำกัดจำนวนครั้ง
แบบทดสอบฉบับนี้ ใช้สำหรับทดสอบความรู้ก่อนสอบกลางภาคเรียน เพื่อเตรียมตัวก่อนสอบจริง
ทั้งนี้ข้อสอบชุดนี้ เป็นเพียงข้อสอบที่ใช้ทดลองสอบเท่านั้น มิใช่ข้อสอบจริงแต่อย่างใด ขอความร่วมมือไม่แคปจอข้อสอบไปส่งต่อนะครับ
**** ภาพรวม ****
เปิดให้ทำวันศุกร์ที่ 20 ถึง วันจันทร์ที่ 23 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 น. รหัสข้อสอบ 32103
ขอบเขตของข้อสอบตอนที่ 1 ข้อสอบปรนัย ปีการศึกษา 2566
กดเพื่อดูเนื้อหาส่วนที่ซ่อนไว้
ตอนที่ 1 ข้อสอบปรนัย จำนวน 45 ข้อ (15 คะแนน) ออกในเนื้อหา ดังนี้
ขอบข่ายของวิชาเศรษฐศาสตร์ จำนวน 7 ข้อ
ขอบข่ายของเศรษฐศาสตร์จุลภาคและเศรษฐศาสตร์มหภาค
ปัญหาพื้นฐานของวิชาเศรษฐศาสตร์
การผลิต
ประเภทของการผลิต (สินค้า (อุปโภคและบริโภค) , การบริการ)
ลำดับการผลิต 3 ขั้นตอน (ปฐมภูมิ - ทุติยภูมิ - ตติยภูมิ)
สินค้าขั้นสุดท้าย
ปัจจัย “การผลิต” : หรือทรัพยากรในการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์
ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน จำนวน 5 ข้อ
ประเภทของ “หน่วยเศรษฐกิจ”
ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน (3 ระบบ) จุดเด่น จุดด้อย การเปรียบเทียบแต่ละระบบเศรษฐกิจ ประเทศที่ใช้ระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ จำนวน 8 ข้อ
ความหมายของ “ตลาด” (Market)
ประเภทและความแตกต่างของตลาด 2 ประเภทใหญ่ (1.สมบูรณ์ 2.ไม่สมบูรณ์ ได้แก่ กึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ผู้ขายน้อยราย ผูกขาด)
ข้อดี ข้อเสีย ความแตกต่างของตลาดแต่ละประเภทเมื่อเปรียบเทียบกัน
การกำหนดราคาตามอุปสงค์และอุปทาน - การกำหนดราคาในเชิงกลยุทธ์ที่มีต่อสังคมไทย จำนวน 12 ข้อ
ความหมายของอุปสงค์ + การพิจารณาว่าอะไรเป็นอุปสงค์หรือไม่
ความหมายของอุปทาน
กฏของอุปสงค์ - กฏของอุปทาน ความหมายและตัวอย่าง
ความหมายของจุดดุลยภาพ
ปัจจัยที่ส่งผลทำให้ระดับอุปสงค์และอุปทานมีการเปลี่ยนแปลงไป (ปัจจัยราคา - วิ่งในเส้นเดิม) (ปัจจัยอื่น - Shift กราฟขวาซ้าย)
อุปสงค์ส่วนเกิน - อุปทานส่วนเกิน
สินค้าปกติ สินค้าด้อยคุณภาพ สินค้าใช้แทนกัน สินค้าใช้ประกอบกัน
ตัวอย่างอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
การเปลี่ยนแปลงกราฟกลไกราคาด้วยปัจจัยราคาและปัจจัยอื่น ๆ
บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคาและการควบคุมราคาเพื่อแจกจ่ายและจัดสรรในทางเศรษฐกิจ จำนวน 3 ข้อ
รูปแบบการแทรกแซงตลาดของรัฐบาล 4 รูปแบบ
การอธิบายปรากฏการณ์ที่สมเหตุสมผลตามหลักการทางเศรษฐศาสตร์ + เชื่อมโยงเนื้อหาเรื่องกลไกราคาและการเปลี่ยนแปลงมาด้วย
การกำหนดค่าจ้าง จำนวน 3 ข้อ
อุปสงค์แรงงานส่วนเกิน และ อุปทานแรงงานส่วนเกิน + ผลที่เกิดจากรัฐแทรกแซง
หลักเศรษฐกิจพอเพียงฯ จำนวน 3 ข้อ ได้แก่
เรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง + เกษตรทฤษฎีใหม่ 3 ลำดับ 2 ข้อ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ 1 - 13 1 ข้อ
หลักสหกรณ์ฯ จำนวน 4 ข้อ ได้แก่
หลักการของสหกรณ์ 2 ข้อ
ประเภทของสหกรณ์ 2 ข้อ
ทั้งนี้สามารถศึกษาวีดีโอการสอนย้อนหลังเพื่อทบทวนที่
ระบบเศรษฐกิจ ตลาด https://youtu.be/bHnDh0TCwWo
กลไกราคาและการเปลี่ยนแปลงอุปสงค์อุปทานฯ https://youtu.be/XKGtXlygTSw
ศก.พอเพียง สหกรณ์ https://youtu.be/u-YIHF1p2kQ