เตรียมตัวสอบการบริหารรัฐกิจกลางภาค ส 30227
ข้อสอบวัดผลกลางภาคเรียน ภาคเรียนที่ 2/2566 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/6 รายวิชาการบริหารรัฐกิจ (ส 30227)
เวลา 120 นาที คะแนนเต็ม 20 คะแนน โรงเรียนวัชรวิทยา อำเภอเมืองกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร
ลักษณะข้อสอบ
คำชี้แจง
ข้อสอบฉบับนี้ มี 3 ตอน เวลาสอบ 120 นาที (สอดคล้องกับระเบียบวัดผลของโรงเรียน ที่ วิชา 2.0 หน่วยกิต ที่มีชั่วโมงเรียน 4 คาบ/สัปดาห์ หรือ 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน)
ตอนที่ 1 ข้อสอบปรนัย จำนวน 100 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 100 คะแนนดิบ ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคำตอบเดียว และฝนคำตอบเป็นวงกลมทึบ ลงในกระดาษคำตอบที่จัดไว้ให้ [กระดาษคำตอบแผ่นที่ 1 แบบปรนัย 100 ข้อ]
ตอนที่ 2 ข้อสอบแบบ ถูก - ผิด จำนวน 10 ข้อ ๆ ละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนนดิบ ให้นักเรียนอ่านข้อความ หากเห็นว่าถูกต้อง ให้ฝนคำตอบเป็นวงกลมทึบ คำตอบในช่องตัวเลือกที่ 1 และหากเห็นว่าคำตอบไม่ถูกต้อง ให้ฝนคำตอบในช่องตัวเลือกที่ 2 (กระดาษคำตอบแผ่นที่ 2 แบบ 20 ข้อ)
ตอนที่ 3 ข้อสอบอัตนัย จำนวน 6 ข้อ ตามคำอธิบายหน้า 14 ให้นักเรียนเขียนลงในกระดาษคำตอบที่จัดไว้
📌📌📌 หากมีข้อสงสัยใด ๆ ให้สอบถามจากคณะกรรมการคุมสอบเท่านั้น
📌📌📌 ข้อสอบที่ออกสอบกลางภาค มาจากข้อสอบเก็บคะแนนครั้งที่ 1 - 6 ที่นักเรียนได้สอบไปทั้งหมดแล้วจ้า
ทั้งนี้จะนำคะแนนตอนที่ 1 + ตอนที่ 2 = 120 คะแนน / 5 = 20 คะแนนจ้า
ขอบเขตของข้อสอบ
นักเรียนสามารถอ่านสรุปเนื้อหาที่ใช้ออกสอบกลางภาค ได้ที่
สรุปความรู้การบริหารรัฐกิจ ม้วนเดียวจบภายใน 15 หน้า คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ขอบเขตของข้อสอบตอนที่ 1 (คลิกเพื่อเปิดดูส่วนที่ซ่อนไว้)
ตอนที่ 1 ข้อสอบปรนัย จำนวน 100 ข้อ ออกในเนื้อหา ดังนี้
Learning unit 1 : ความหมายและขอบข่ายของการศึกษาบริหารรัฐกิจเบื้องต้น
ตอนที่ 1 : ความหมายของ “การบริหาร” คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตอนที่ 2 : การบริหารรัฐกิจกับการบริหารธุรกิจ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตอนที่ 3 : ความสัมพันธ์ของรัฐประศาสนศาสตร์และวิชาอื่น คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตอนที่ 4 : ขอบข่ายของการศึกษาบริหารรัฐกิจ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
Learning unit 2 : พาราไดม์ของวิชาการบริหารรัฐกิจ (Paradigm of Public Administration)
ส่วนที่ 1 : พาราไดม์ (Paradigm) ของการบริหารรัฐกิจ
ตอนที่ 1 : ความหมายของพาราไดม์ (Paradigm) ฉบับนักเรียน ฉบับเผยแพร่
ตอนที่ 2 : ประวัติการพัฒนาการพาราไดร์ของวิชาการบริหารรัฐกิจในมุมมองนักวิชาการ ฉบับนักเรียน ฉบับเผยแพร่
ตอนที่ 3 : สรุปสาระของพาราไดม์ของวิชาการบริหารรัฐกิจทั้ง 5 พาราไดม์ ฉบับนักเรียน ฉบับเผยแพร่
ตอนที่ 4 : กำเนิดวิชาการบริหารรัฐกิจในประเทศไทย ฉบับนักเรียน ฉบับเผยแพร่
ส่วนที่ 2 : นโยบายสาธารณะและการวางแผน
ตอนที่ 1 : ความหมาย ลักษณะและประเภทของนโยบายสาธารณะ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตอนที่ 2 : วิธีการศึกษา ประโยชน์ องค์ประกอบและความสำคัญของการศึกษานโยบายสาธารณะ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตอนที่ 3 : กระบวนการนโยบาย (ภาคทฤษฎี) คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ส่วนที่ 3 : องค์การและการจัดการองค์การ
ตอนที่ 1 คำจำกัดความขององค์การ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตอนที่ 2 การเปลี่ยนแปลงขององค์การ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตอนที่ 3 การจัดองค์การ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตอนที่ 4 รูปแบบขององค์การ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ตอนที่ 5 องค์การแห่งการเรียนรู้ การตัดสินใจในการออกแบบองค์การ ทฤษฎีโครงสร้างองค์การตามสถานการณ์ คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
ขอบเขตของข้อสอบตอนที่ 2 (คลิกเพื่อเปิดดูส่วนที่ซ่อนไว้)
ตอนที่ 2 เป็นข้อสอบแบบ ถูก - ผิด จำนวน 10 ข้อ ให้นักเรียนอ่านข้อความ
หากเห็นว่าถูกต้อง ให้ฝนคำตอบในช่องตัวเลือก 1 และ
หากเห็นว่าคำตอบไม่ถูกต้อง ให้ฝนคำตอบในตัวเลือก 2
(กระดาษคำตอบแผ่นที่ 2 แบบ 20 ข้อ)
เนื้อหาที่ออกสอบ
Learning unit 1 : ความหมายและขอบข่ายของการศึกษาบริหารรัฐกิจเบื้องต้น จำนวน 8 ข้อ
Learning unit 2 : พาราไดม์ของวิชาการบริหารรัฐกิจ (Paradigm of Public Administration)
ส่วนที่ 1 : พาราไดม์ (Paradigm) ของการบริหารรัฐกิจ จำนวน 2 ข้อ
ขอบเขตของข้อสอบตอนที่ 3 (อัตนัย) (คลิกเพื่อเปิดดูส่วนที่ซ่อนไว้)
ตอนที่ 3 ข้อสอบอัตนัย จำนวน 6 ข้อ บังคับทำข้อ 6 ทุกคน และให้เลือกตอบจากคำถามข้อ 1 – 5 ไม่น้อยกว่า 2 ข้อ ให้นักเรียนเขียนลงในกระดาษคำตอบที่จัดไว้ให้] ออกในเนื้อหาดังนี้
Learning unit 2 : พาราไดม์ของวิชาการบริหารรัฐกิจ (Paradigm of Public Administration)
ข้อ 1 - 5 ให้เลือกตอบไม่น้อยกว่า 2 ข้อ ออกในประเด็นเรื่อง
ส่วนที่ 3 : องค์การและการจัดการองค์การ
แผนผังโครงสร้างองค์การ
สายการบังคับบัญชา และช่วงการควบคุม
การรวมอำนาจและการกระจายอำนาจ
ส่วนที่ 4 : สิ่งแวดล้อมของการบริหารรัฐกิจ
รูปแบบการบริหารงานของรัฐบาลไทย
วรรณะ (Caste) ฐานันดร (Estate) ชนชั้น ( Class)
ข้อ 6 : ข้อสอบบังคับตอบ นักเรียนคิดเห็นว่าแผนภูมิแสดงรูปแบบชนชั้นตามภาพด้านล่างมีโอกาสที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคตหรือไม่ จงอธิบายขยายความให้เข้าใจ และเห็นภาพชัดเจน เป็นแผนภูมิชนชั้นสังคมไทย
ข้อ 1 – 5 : ข้อสอบแบบเลือกตอบไม่น้อยกว่า 2 ข้อ
ให้นักเรียนวาดภาพแผนผังโครงสร้างองค์การ พร้อมอธิบายภาพประกอบให้ครบถ้วน ชัดเจน เข้าใจง่าย อย่างน้อย 5 โครงสร้าง
จงอธิบายพอสังเขป ในเรื่องของสายการบังคับบัญชา และช่วงการควบคุม ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร
จงอธิบายพอสังเขป ในเรื่องความแตกต่างระหว่างการรวมอำนาจและการกระจายอำนาจ
จงอธิบายพอสังเขป ในเรื่องรูปแบบการบริหารงานของรัฐบาลไทยที่สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อมของการบริหารรัฐกิจ
จงอธิบายพอสังเขป ในเรื่องความแตกต่างเกี่ยวกับ วรรณะ (Caste) ฐานันดร (Estate) ชนชั้น ( Class)
ข้อ 6 : ข้อสอบบังคับตอบ : นักเรียนคิดเห็นว่าแผนภูมิแสดงรูปแบบชนชั้นตามภาพด้านล่างมีโอกาสที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคตหรือไม่ จงอธิบายขยายความให้เข้าใจ และเห็นภาพชัดเจน
ภาพประกอบการตอบข้อสอบ ข้อ 6 : ข้อสอบบังคับตอบ : นักเรียนคิดเห็นว่าแผนภูมิแสดงรูปแบบชนชั้นตามภาพด้านล่างมีโอกาสที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคตหรือไม่ จงอธิบายขยายความให้เข้าใจ และเห็นภาพชัดเจน
เอกสารสรุป 15 หน้า
ตัวอย่างกระดาษคำตอบ การสอบกลางภาคเรียน
คำชี้แจง
กรณีข้อสอบปรนัย
1. ให้นักเรียนเขียนชื่อ นามสกุล ชั้น เลขที่ให้เรียบร้อย
2. ผู้เข้าสอบใช้ดินสอ 2B หรือเข้มกว่า ฝนคำตอบในวงกลมให้เต็ม ตามตัวอย่าง
3. หากต้องการแก้ไขคำตอบ ให้ลบคำตอบเดิมให้สะอาด จึงระบายใหม่
4. ห้ามขีดเขียนสิ่งอื่นใดลงไปในกระดาษคำตอบ นอกเหนือจากที่ระบุ
มิเช่นนั้นโปรแกรมจะไม่ตรวจข้อสอบ
5. ห้ามทำลาย หรือพับกระดาษคำตอบ
6. กรณีมีชุดที่ของข้อสอบ ให้ฝนชุดที่ข้อสอบในช่อง KEY สำหรับช่อง รหัสประจำตัวนักเรียน ให้กรอกและฝนเลขประจำตัวของนักเรียน เช่น เลขที่ 15780 ให้ฝน 000015780 เป็นต้น
ตอนที่ 3 ข้อสอบอัตนัย จำนวน 6 ข้อ
คำชี้แจง ให้นักเรียนเขียนหมายเลขข้อให้ชัดเจน และตอบคำถามโดยไม่ต้องลอกโจทย์ หากกระดาษคำตอบที่แจกให้ไม่พอ ให้ขอเพิ่มจากคณะกรรมการคุมสอบ โดยให้เขียนชื่อ - สกุล ชั้น เลขที่ กำกับทุกหน้าของกระดาษคำตอบ เพื่อป้องกันการสับเปลี่ยนกระดาษ
PS
น สิยา โลกวฑฺฒโน
What doesn’t kill you makes you stronger.
See you again when the nation needs it
Good luck in exams
Fighting
Khrū nāy
ข้อสอบจำลอง (ทำได้ไม่จำกัดจำนวน - ไม่ต้องทำข้อเขียน)
แบบทดสอบเก็บคะแนน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 unit 1 : ความหมายและขอบข่ายของการศึกษาบริหารรัฐกิจเบื้องต้น จำนวน 30 ข้อ คะแนนดิบ 30 คะแนน
คลิกเพื่อตรวจสอบคะแนน [Ref ทุก ๆ 5 นาที]
สำหรับครูนายคนเดียวเท่านั้น กดตรงนี้
แบบทดสอบเก็บคะแนน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ส่วนที่ 1 unit 2 : พาราไดม์ของวิชาการบริหารรัฐกิจ (Paradigm of Public Administration) จำนวน 42 ข้อ คะแนนดิบ 50 คะแนน + ข้อเขียน 1 ข้อ 10 คะแนน
คลิกเพื่อตรวจสอบคะแนน [Ref ทุก ๆ 5 นาที]
สำหรับครูนายคนเดียวเท่านั้น กดตรงนี้
แบบทดสอบเก็บคะแนน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ส่วนที่ 2 นโยบายสาธารณะและการวางแผน จำนวน 40 ข้อ คะแนนดิบ 40 คะแนน + ข้อเขียน 2 ข้อ 80 คะแนน โดยนักเรียนสามารถสอบเกี่ยว หรือจับคู่สอบได้
คลิกเพื่อตรวจสอบคะแนน [Ref ทุก ๆ 5 นาที]
แบบทดสอบเก็บคะแนน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ส่วนที่ 3 องค์การและการจัดการองค์การ จำนวน 10 ข้อ คะแนนดิบ 10 คะแนน
คลิกเพื่อตรวจสอบคะแนน [Ref ทุก ๆ 5 นาที]
สำหรับครูนายคนเดียวเท่านั้น กดตรงนี้
ขอบข่ายข้อสอบเก่าปี 2563
ปี 2563 ขอบเขตของข้อสอบตอนที่ 3 (กรณีเลือกทำอัตนัย) (คลิกเพื่อเปิดดูส่วนที่ซ่อนไว้)
ตอนที่ 3 ข้อสอบอัตนัย จำนวน 3 ข้อ (5 คะแนน) ให้นักเรียนเขียนลงในกระดาษคำตอบที่จัดไว้ให้ ออกในเนื้อหาดังนี้
ให้นักเรียนเขียนอธิบายพัฒนาการพาราไดม์ของวิชาการบริหารรัฐกิจในมุมมองของนักวิชาการ ในประเด็นดังต่อไปนี้ (1 คะแนน)
ชื่อพาราไดม์ เรียงลำดับจากต้นถึงปัจจุบัน
สาระสำคัญของแต่ละพาราไดม์
จุดเด่นของแต่ละพาราไดม์
นโยบายสาธารณะของสังคมไทยในปัจจุบันเป็นนโยบายที่ดีหรือไม่ ? จงอธิบายโดยละเอียด (1 คะแนน)
ให้นักเรียนยกตัวอย่างนโยบายสาธารณะ (ในสังคมไทย) ในด้านต่อไปนี้มาอย่างละ 1 นโยบาย (3 คะแนน)
(1) ด้านการศึกษา
(2) ด้านเศรษฐกิจและความเป็นอยู่ของประชาชน
(3) ด้านสุขภาพอนามัยของประชาชน
จากนั้นให้ระบุสิ่งต่อไปนี้ในนโยบายสาธารณะทั้ง 3 ด้าน
1. ชื่อนโยบายที่นักเรียนยกตัวอย่าง
2. กลุ่มผู้ได้รับผลประโยชน์จากนโยบาย
3. แนวทางการดำเนินนโยบาย (โดยละเอียด)
4. ผลไม่คาดหมายต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากนโยบาย
5. ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินนโยบาย
6. การคงอยู่ของนโยบายในปัจจุบัน
หมายเหตุ การเขียนข้อสอบอัตนัย ขอให้ผู้สอบเขียนโดยอ้างอิงจากหลักวิชาการที่ได้ศึกษา ประกอบกับข้อเท็จจริงที่ได้รับการพิสูจน์โดยไม่มีข้อกังขา โดยไม่มุ่งเน้นนำความรู้สึกและทัศนคติโดยส่วนตัวมาบดบังการวิเคราะห์ในภาพรวม ทั้งนี้หากผู้สอบท่านใดจะยกประเด็นที่ยังเป็นข้อกังขามาประกอบการตอบ ขอให้ระมัดระวังไม่นำเสนอข้อมูลเพียงด้านเดียว แต่ให้นำเสนอข้อมูลรอบด้าน เพื่อชั่งน้ำหนัก