บทเรียนออนไลน์ ส 30227 การบริหารรัฐกิจ
Learning unit 4 : การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
นายมงคล สุขีลักษณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนวัชรวิทยา
สำหรับการจัดการเรียนการสอนภายในโรงเรียน (@wr.ac.th) เท่านั้น
Learning unit 4 : การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
Learning unit 4 : การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม มีเนื้อหา ได้แก่
การบริหารรัฐกิจร่วมสมัย
การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
กรณีศึกษาการบริหารรัฐกิจ
เอกสารประกอบการเรียน Learning unit 4 : การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
การบริหารรัฐกิจร่วมสมัย
การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
กรณีศึกษาการบริหารรัฐกิจ
PowerPoint ประกอบการเรียนรู้ Learning unit 4 : การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
การบริหารรัฐกิจร่วมสมัย
การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
กรณีศึกษาการบริหารรัฐกิจ
PROJECT
กิจกรรมการโต้วาที (DEBATE) การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
การ Pitching ในประเด็น "การบริหารรัฐกิจกับการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม"
โครงการวิศวกรสังคม #ลอว์วอรอ #lawwr
ค่ายจิตอาสาพัฒนาสังคม
ฝึกเขียนเรียงความทางรัฐศาสตร์
Policy Learning Card : ให้การ์ดสร้างนโยบาย การ์ดนี้ถูกออกแบบมาเพื่อให้เราได้ทดลองสร้างนโยบาย โดยประเด็นต่าง ๆ ได้มาจากมูลนิธิก้าวหน้า ซึ่งวิธีการเล่นก็ไม่ซับซ้อน นั่นคือ เลือกไพ่ใบสีเขียวหรือประเด็นปัญฆาที่รู้สึกอยากแก้ไข 1-3 ใบ จากนั้นเลือกการ์ดสีโอรสหรือกลไกที่ใช้แก้ปัญหา แล้วลองเล่าว่าใบไหนแก้ปัญหาไหนได้บ้าง เมื่อเล่าครบทุกประเด็นแล้ว ให้นำการ์ดสีดำมาตั้งคำถามเกี่ยวกับสิ่งที่เราเลือก เช่น เลือกปัญหาสิ่งแวดล้อม แก้ไขด้วยการทำงานใหม่ แล้วตอบด้วยใบสีดำคือ What เราจะอะไร(ขยะ) แก้ไปทำไม(ปัญหาเรื่องไมโครพลาสติก) แก้อย่างไร(เราจะลดการใช้พลาสติก และรณรงค์การใช้แก้ที่ใช้ซ้ำได้) ใครได้ประโยชน์(คนและสัตว์) ทำที่ไหน(ร้านค้า ร้านอาหาร โรงเรียน) ทำเมื่อไหร่(ภายใน 3 เดือน) เป็นต้น คลิป
หงาย 12 การ์ดออกแบบนโยบายที่มีคนเป็นศูนย์กลาง คลิก
TOPIC (0.99) : ฝึกเขียนเรียงความทางรัฐศาสตร์
กระดาษเขียนเรียงความแบบเส้น แบบกว้างเส้นแดงสำหรับสอบ
คู่มือคำแนะนำการเขียนเรียงความทางรัฐศาสตร์
Political science essay writing
หลักการเขียนตอบข้อสอบเรียงความ คลิกเพื่อดาวน์โหลดหนังสือ
วีดีโอศึกษาเพิ่มเติม Learning unit 4 : การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
ชวนมาเล่น LOCAL ELECTION | •เกมเลือกตั้งท้องถิ่น•
เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมการบริหารรัฐกิจกับการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม ด้วยกระบวนการบอร์ดเกม LOCAL ELECTION | •เกมเลือกตั้งท้องถิ่น•
LOCAL ELECTION | •เกมเลือกตั้งท้องถิ่น•
เป็นเกมจำลองการเลือกตั้งท้องถิ่น และบริหารพัฒนาท้องถิ่น โดยผู้เล่นแต่ละคนจะได้สวมบทบาทเป็นชาวบ้านที่มีความฝันอยากให้เมืองที่เราอาศัย มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นกว่าเดิมผ่นการเลือกตั้งท้องถิ่น เพื่อเฟ้นหาผู้นำชุมชนที่มีความสามารถและวิสัยทัศน์ตรงกับโครงการและความต้องการของตัวเรา
คำชี้แจงและแนวทางปฎิบัติ
นักเรียนแบ่งกลุ่มละ 4 คน ตามความสมัครใจ
นักเรียนเข้ากลุ่ม ศึกษาวิธีการเล่นจากที่นี้ คลิก
นักเรียนจะต้องส่ง VDO Time lapse (ไทม์แลปส์) ครั้งที่ 1 - 4 แสดงให้เห็นถึงการศึกษาหาข้อมูลและการทดลองเล่นบอร์มเกม
เมื่อนักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาจนเข้าใจดีแล้ว ให้ขยายผลให้บุคคลที่เรารู้จัก (ภายในโรงเรียน / ภายนอกโรงเรียน) ได้ทดลองเล่น โดยมีประเด็นรายละเอียดสำคัญ ดังนี้
กรณีเป็นนักเรียนภายในโรงเรียนวัชรวิทยา ต้องได้จำนวนอย่างน้อย 15 คน (ไม่ซ้ำกัน)
กรณีเป็นบุคคลภายนอกโรงเรียนวัชรวิทยา ผู้ปกครอง ครู และอื่น ๆ อย่างน้อย 10 คน (ไม่ซ้ำกัน)
การเล่นบอร์ดเกมของกลุ่มเป้าหมายต้องทดลองเล่น รอบละ 2 - 5 คน โดยแต่ละครั้งจะต้องเล่นอย่างน้อย 1 เกม (4 รอบ) ขึ้นไป
แต่ละกลุ่มจะต้องส่งรายงานผล สำหรับใช้เผยแพร่สู่สาธารณะ โดยจัดทำใน 2 รูปแบบ ดังต่อไปนี้
วีดีโอแสดงผลการดำเนินการ เป็น VLOG ความยาวไม่น้อยกว่า 5 นาที (ที่ผ่านการตัดต่อแล้ว) โดยเล่าเรื่องตามความถนัดและศักยภาพของแต่ละกลุ่ม ((ศักยภาพสูง คะแนนสูงตาม)) และให้สัมภาษณ์ความรู้สึกและสิ่งที่ได้รับจากการเล่นบอร์ดเกมด้วย
ภาพถ่ายกิจกรรม ไม่น้อยกว่ากลุ่มละ 50 ภาพ
กำหนดส่ง 31 ธันวาคม 2566 (รอบ 1 คะแนน +2)
หมายเหตุ
คะแนน +2 เพิ่มเติม มี 2 กรณี ตามที่ได้แจ้งไป
แต่ละกลุ่มต้องทำบัญชีรายชื่อ ส่งต่างหาก 1 ชุด และจะมีการประสานให้ทำแบบประเมินผล (แจก 20 พ.ย. 2566)
กิจกรรมการโต้วาที (DEBATE) การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
รายละเอียดกติกาและความรู้สำหรับนักเรียน
กติกาการโต้วาทีบางส่วนจะอ้างอิงจากกติกาการโต้วาทีสากลระดับโรงเรียน (WORLD SCHOOLS DEBATING CHAMPIONSHIPS) คลิกเพื่ออ่านประวัติและรูปแบบ
กติกาและหลักเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
รายชื่อกลุ่มสำหรับกิจกรรมดีเบต คลิกเพื่อเปิดเอกสาร (Update 10/12/64)
สำหรับเสนอหัวข้อดีเบต คลิกเพื่อเสนอ
ความรู้ก่อนเริ่มกิจกรรม
คลิกเพื่อเปิดเว็บไซต์ ย้อนอดีตไปดู ความหมายที่แท้ทรูของการ ‘ดีเบต themomentum
คลิกเพื่อเปิดเว็บไซต์ ทำไมการดีเบตถึงสำคัญต่อประชาธิปไตย Posted On 1 March 2019 Tomorn Sookprecha
รู้ก่อนพูด! มารยาทสากลในการดีเบต www.mangozero.com
ปี 2565 หัวข้อ - ประเด็นการโต้วาที (DEBATE) การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
23 มกราคม 2565
คู่ที่ 1 : จำเป็นหรือไม่ที่ประเทศไทยต้องขับเคลื่อนด้วยการด่า
คู่ที่ 2 : ความล้มเหลวของรัฐบาลสะท้อนผ่านงานการกุศล
คู่ที่ 3 : ผู้อำนวยการโรงเรียน ควรมาจากการเลือกตั้งของนักเรียน
25 มกราคม 2565
คู่ที่ 4 : มัธยมศึกษาตอนปลาย ไม่ควรแบ่งสายการเรียน
คู่ที่ 5 : รัฐควรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลมากกว่าความปลอดภัยของพลเมือง
คู่พิเศษ
คู่ชนะ 1 - 2 : อุตสาหกรรมสื่อลามก ควรทำให้ถูกกฎหมายในไทย
คู่ชนะ 3 - 4 - 5 : ย้ายประเทศหนีปัญหาใช่สิ่งที่ถูกหรือไม่
ตัวอย่างหัวข้อ - ประเด็นการโต้วาที (DEBATE) การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
ย้ายประเทศหนีปัญหาใช่สิ่งที่ถูกหรือไม่
จำเป็นหรือไม่ที่ประเทศไทยต้องขับเคลื่อนด้วยการด่า
ความล้มเหลวของรัฐบาลสะท้อนผ่านงานการกุศล
Metaverse พาโลกก้าวไกล ยิ่งกว่าทำลายมนุษยชาติ
เป็นครูที่ตามใจเด็ก VS เป็นครูที่เข้มงวดแล้วถูกเกลียด
รัฐควรสร้างการศึกษาที่มั่นคง มากกว่าเศรษฐกิจที่มั่งคั่ง
อุตสาหกรรมสื่อลามก ควรทำให้ถูกกฎหมายในไทย
ลัทธิชาตินิยมฉุดรั้งประชาชนจากการเป็นพลเมืองโลก
การเพิกเฉยต่อเหตุการณ์ความขัดแย้งเลวร้ายน้อยกว่าการเลือกข้างใดข้างหนึ่ง
ยึดมั่นในอุดมการณ์อันแรงกล้าสำคัญกว่าความก้าวหน้าในชีวิต
การคิดโทษปรับตามอัตราฐานะทางสังคม ดีกว่าการตั้งอัตราคงที่ตามกฎหมาย
การตัดสินคดีโดยคณะลูกขุนให้ความเป็นธรรมได้มากกว่าผู้พิพากษา
การแข่งขันกีฬาโดยแบ่งตามเพศสภาพได้เปรียบกว่าแบ่งตามเพศกำเนิด
การแข่งขันประเพณีไทยกำลังสูญไปเพราะเยาวชนไม่สนใจมากกว่าล้าสมัยคร่ำครึ
สิทธิบัตรวัคซีนโควิด สร้างปัญหามากกว่าประโยชน์
ระบบการศึกษาไทย ลดทอนเสรีภาพในการแสดงออกทางเพศ
ประชาธิปไตยจะสมบูรณ์ ด้วยระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมเสรีมากกว่าสังคมนิยม
รัฐควรคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลมากกว่าความปลอดภัยของพลเมือง
ร่วมแสดงออกบนถนน ได้ผลมากกว่าใช้อำนาจผ่านรัฐสภา
ผู้อำนวยการโรงเรียน ควรมาจากการเลือกตั้งของนักเรียน
สื่อมวลชนควรเป็นกลางทางการเมือง
มัธยมศึกษาตอนปลาย ไม่ควรแบ่งสายการเรียน
รัฐบาลควรขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ
เทคโนโลยีก้าวหน้าสติปัญญาถดถอย
พ่อแม่ควรเคารพสิทธิในความเป็นส่วนตัวของลูกตั้งแต่แรกเกิด (ชิงชนะเลิศ LawChulaFest2022)
ระบบอุปถัมภ์ไม่ควรมีอยู่ในระบบราชการ (ชิงที่ 3 LawChulaFest2022)
สื่อควรทำหน้าที่เป็นดั่งกระจกมากกว่าตะเกียง (รอบ 4 ทีมสุดท้าย LawChulaFest2022)
การโคลนนิ่งมนุษย์ควรทำได้อย่างถูกกฎหมาย (รอบ 4 ทีมสุดท้าย LawChulaFest2022)
ศาลทหารไม่ควรมีอยู่ในระบบกฎหมายไทย (รอบ 8 ทีมสุดท้าย LawChulaFest2022)
การอำนวยความสะดวกให้สตรีบางประการ เช่น Lady Parking คือ การให้อภิสิทธิ์ที่ไม่ควรเกิดขึ้น (รอบ 8 ทีมสุดท้าย LawChulaFest2022)
ประเทศไทยไม่เคยพร้อมที่จะก้าวสู่อาเซียน (รอบ 8 ทีมสุดท้าย LawChulaFest2022)
การล้างหนี้กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา (กยศ.) มิใช่ทางเลือกที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย) (รอบ 8 ทีมสุดท้าย LawChulaFest2022)
หัวข้อเพิ่มเติมทั้งหมด คลิก
ผลงานจากการจัดกิจกรรมการโต้วาที (DEBATE) การบริหารรัฐกิจกับการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
การ Pitching ในประเด็น "การบริหารรัฐกิจกับการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม"
กำหนดส่ง 15 กุมภาพันธ์ 2566
ESD1002 : Pitching Technique คลิก
หลักสูตร การนำเสนอแผนธุรกิจสำหรับสตาร์ทอัพ : เข้าใจการสร้าง Pitch Deck ให้สวยงามและน่าสนใจเพื่อการนำเสนออย่างมืออาชีพ ผ่านเทคนิคการถ่ายทอด โดยการเล่าแบบ Story Telling
วัตถุประสงค์
• เพื่อให้เข้าใจการสร้าง Pitch Deck ที่น่าสนใจ ผ่านหัวข้อสำคัญในการนำเสนอธุรกิจ
• เพื่อให้สามารถถ่ายทอด ความน่าสนใจของธุรกิจให้ผู้ฟังและนักลงทุนเข้าใจได้ ผ่านการเล่าเรื่องราวแบบ Story Telling และการนำเทคนิคต่างๆมาใช้ในการสร้าง Pitch Deck ให้สวยงาม
• เพื่อให้สามารถนำเสนอได้อย่างมืออาชีพ
รายละเอียดกติกาการ Pitching
กติกาและหลักเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน คลิกเพื่อเปิดเอกสาร
สำหรับเสนอหัวข้อ คลิกเพื่อเสนอ
ความรู้ก่อนเริ่มกิจกรรม
Pitching https://www.set.or.th/set/enterprise/html.do?name=pitching
คลิกเพื่อเปิดเว็บไซต์ เทคนิคการทำ PITCH DECK นำเสนอผลงาน SOCIAL INNOVATION
คลิกเพื่อเปิดเว็บไซต์ Pitching ที่ดีเป็นอย่างไร? ไม่ใช่แค่เรื่องราวหรือสไลด์ แต่เป็นการวางกลยุทธ์เพื่อชนะใจคนฟัง
คลิกเพื่อเปิดเว็บไซต์ Pitching คืออะไร? รวมทุกอย่างที่ต้องรู้ก่อนลงสนามธุรกิจ!